ไฟแนนซ์รถอ่วม! ‘สคบ.’คุมดอกเบี้ยเข้ม ‘แบงก์ชาติ’ลงมากำกับเองปีหน้า

นายวิสิทธิ์ พึ่งพรสวรรค์ ประธานสมาคมธุรกิจเช่าซื้อไทย เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ได้สรุปผลการประชุมร่างประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญาเกี่ยวกับเรื่องเช่าซื้อรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ สาระสำคัญมีการกำหนดเพดานดอกเบี้ยธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์และรถจักยานยนต์ จะมีผลใน 90 วันนับจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยกำหนดเพดานดอกเบี้ยรถยนต์ใหม่ไม่เกิน 10% ต่อปี รถยนต์มือสองไม่เกิน 15% ต่อปี และรถจักรยานยนต์ไม่เกิน 23% ต่อปี

ทั้งนี้ยอมรับว่ากลุ่มได้รับผลกระทบมากที่สุดคือผู้ประกอบการสินเชื่อรถจักรยานยนต์ เพราะปัจจุบันดอกเบี้ยสินเชื่อรถจักรยานยนต์เฉลี่ย 30-32% ต่อปี ซึ่งต้นทุนผู้ให้บริการที่เป็นสถาบันการเงินจะต่ำกว่าผู้ให้บริการที่เป็นนอนแบงก์ และการแข่งขันของกลุ่มนี้ค่อนข้างสูง ถ้าเก็บดอกเบี้ยได้น้อย หรือดอกเบี้ยต่ำไม่คุ้มกับความเสี่ยง ก็อาจทำให้ผู้กู้เข้าถึงได้ยาก เพราะมีความเสี่ยงมากโดยต้นทุนเครดิตอยู่สูงถึง 8-12%คำพูดจาก ทดลองสล็อต ใหม่ล่าสุด

สำหรับรถยนต์ใหม่ป้ายแดงปัจจุบันคิดดอกเบี้ยรวมทุกอย่างแล้วอยู่ที่ 4-5% ทำให้หากกำหนดเพดานไม่เกิน 10% ก็ไม่กระทบกับประเภทนี้ แต่รถยนต์มือสองหรือรถยนต์ใช้แล้ว มีเพดานไม่เกิน 15% ต่อปี ถ้ารถไม่เก่ามากหรือต่ำกว่า 15 ปี ส่วนใหญ่เป็นไฟแนนซ์ขนาดใหญ่ ก็อาจไม่กระทบมากเพราะปัจจุบันเก็บดอกเบี้ยอยู่ 8-9% แต่หากไฟแนนซ์ขนาดเล็ก หรือเป็นไฟแนนซ์ท้องถิ่นที่ให้กู้รถยนต์มือสองอายุเกิน 15 ปี ขึ้นไป ก็จะได้รับผลกระทบมาก เพราะมีความเสี่ยงที่สูงกว่า

ในขณะเดียวกัน นายรณดล นุ่มนนท์ รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวว่า ในเรื่องการกำกับดูแลธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์นั้น ธปท.อยู่ระหว่างสรุปผลของการเปิดรับฟังความเห็นก่อนหน้านี้ เป็นร่าง พ.ร.ฎ.เพื่อกำกับดูแลธุรกิจการให้เช่าซื้อและการให้เช่าแบบลีสซิ่งรถยนต์และรถจักรยานยนต์ ซึ่งทำควบคู่กับการทำงานของ สคบ. เพื่อดูแลผู้บริโภคที่ถูกผู้ให้บริการเงินกู้รถยนต์คิดดอกเบี้ยแพงและไม่เป็นธรรม โดยคาดว่าแนวทางกำกับดูแลธุรกิจนี้จะออกประกาศได้ต้นปี 66 และจะมีผลบังคับใช้ 180 วันนับจากประกาศ จะเป็นแนวกำกับดูแลทั้งระบบไม่ใช่แค่เรื่องดอกเบี้ย

ทั้งนี้ที่ผ่านมา ธปท.ได้ทำงานกับ สคบ.มาโดยตลอดและได้ส่งข้อมูลในเรื่องคิดคำนวณต้นทุนและดอกเบี้ยเพื่อกำหนดเพดาน ซึ่งในระหว่างที่แนวทาง ธปท.จะมีผล ให้ใช้อัตราดอกเบี้ยของ สคบ.ไปก่อน แต่ในอนาคต ธปท.จะกำหนดเพดานดอกเบี้ยเช่าซื้อลีสซิ่งของตัวเอง ส่วน สคบ.จะดูแลเรื่องอื่นๆ แทน เช่น ในเรื่องสัญญากู้ยืม ถือเป็นเรื่องที่ดีที่เข้ามาคุ้มครองผู้บริโภค และ ธปท.ได้พูดคุยกับ สคบ.อยู่ตลอดถึงเรื่องนี้ อย่างไรก็ตาม หลังจากนี้เพดานดอกเบี้ยที่กำหนดอาจปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ไม่ใช่จะเป็นอัตราเพดานนี้ไปตลอดคำพูดจาก ฟรี เกมสล็อตทดลองเล่น

นายวิสิทธิ์ พึ่งพรสวรรค์ ประธานสมาคมธุรกิจเช่าซื้อไทย เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ได้สรุปผลการประชุมร่างประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญาเกี่ยวกับเรื่องเช่าซื้อรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ สาระสำคัญมีการกำหนดเพดานดอกเบี้ยธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์และรถจักยานยนต์ จะมีผลใน 90 วันนับจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยกำหนดเพดานดอกเบี้ยรถยนต์ใหม่ไม่เกิน 10% ต่อปี รถยนต์มือสองไม่เกิน 15% ต่อปี และรถจักรยานยนต์ไม่เกิน 23% ต่อปี ทั้งนี้ยอมรับว่ากลุ่มได้รับผลกระทบมากที่สุดคือผู้ประกอบการสินเชื่อรถจักรยานยนต์ เพราะปัจจุบันดอกเบี้ยสินเชื่อรถจักรยานยนต์เฉลี่ย 30-32% ต่อปี ซึ่งต้นทุนผู้ให้บริการที่เป็นสถาบันการเงินจะต่ำกว่าผู้ให้บริการที่เป็นนอนแบงก์ และการแข่งขันของกลุ่มนี้ค่อนข้างสูง ถ้าเก็บดอกเบี้ยได้น้อย หรือดอกเบี้ยต่ำไม่คุ้มกับความเสี่ยง ก็อาจทำให้ผู้กู้เข้าถึงได้ยาก เพราะมีความเสี่ยงมากโดยต้นทุนเครดิตอยู่สูงถึง 8-12%คำพูดจาก ทดลองสล็อต ใหม่ล่าสุด สำหรับรถยนต์ใหม่ป้ายแดงปัจจุบันคิดดอกเบี้ยรวมทุกอย่างแล้วอยู่ที่ 4-5% ทำให้หากกำหนดเพดานไม่เกิน 10% ก็ไม่กระทบกับประเภทนี้ แต่รถยนต์มือสองหรือรถยนต์ใช้แล้ว มีเพดานไม่เกิน 15% ต่อปี ถ้ารถไม่เก่ามากหรือต่ำกว่า 15 ปี ส่วนใหญ่เป็นไฟแนนซ์ขนาดใหญ่ ก็อาจไม่กระทบมากเพราะปัจจุบันเก็บดอกเบี้ยอยู่ 8-9% แต่หากไฟแนนซ์ขนาดเล็ก หรือเป็นไฟแนนซ์ท้องถิ่นที่ให้กู้รถยนต์มือสองอายุเกิน 15 ปี ขึ้นไป ก็จะได้รับผลกระทบมาก…